บันทึกครั้งที่ 15
บันทึกการเรียนการสอน
1. อาจารย์พูดเรื่อง ให้ไปลิงค์วิจัยเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
2. ทบทวนเนื้อหาที่เรียนในสัปดาห์ที่ผ่านมาเกื่ยวกับ
อาจารย์ถามว่าทำไมเราถึงไม่เอาเนื้อหาให้กับเด็กเลยเพราะไม่สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้
วิธีการ
- จดบันทึก
- เครื่องมือแรกที่จะต้องใช้คือ Maid mapping
- ถามเด็กให้เด็กเกิดการคาดคะเนเพราะความรูพื้นฐานของเด็กไม่เท่ากัน
ภาพที่เพื่อนๆ นำเสนอสื่อ
อาจารย์แนะนำสื่อที่เพื่อนนำมาสอน
สื่อที่ดีจะต้องใช้ได้หลายสถานการณ์
กลุ่มที่ 1
หน่วยเรื่อง ไข่ (อาหารที่ทำจากไข่ )
กลุ่มที่ 2
เพื่อนนำหน่วยเรื่องไข่จ๋า
กลุ่มที่ 3
หน่วยเรื่อง โรงเรียน
กลุ่มที่ 4
หน่วยเรื่อง น้ำ
แต่ละกลุ่มที่นำเสนอไปในวันนี้ อาจารย์ได้ให้คำแนะนำว่าควรจัดประสบการณ์
อย่างไรให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็กและนำไปปรับใช้ในวันข้างหน้าให้ดีขึ้น
พร้อมทั้งให้กลุ่มที่ยังไม่นำเสนอแผนให้ไปปรับให้เหมาะกับการจักประสบการณ์ให้กับเด็ก
และกลุ่มที่นำเสนอไปแล้วก็ให้นำไปปรับให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ขอกเด็ก
♥♥ การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย **ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 ♥♥
วันพฤหัสบดีที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556
บันทึกครั้งที่14
บันทึกการเรียนการสอน
1. อาจารย์ให้เพื่อนนำเสนอแผนหน่วยการเรียนรู้ต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว
2. อาจารย์แนะนำวิธีการสอนว่าควรจะสอนอย่างไรให้กับเด็กแล้วให้ไปปรับปรุงแก้ไข
บันทึกการเรียนการสอน
1. อาจารย์ให้เพื่อนนำเสนอแผนหน่วยการเรียนรู้ต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว
2. อาจารย์แนะนำวิธีการสอนว่าควรจะสอนอย่างไรให้กับเด็กแล้วให้ไปปรับปรุงแก้ไข
กลุ่มที่ 3 กลุ่มของ เหมียว แหม่ม เกต
ภาพกิจกรรมการเรียนการสอน
วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2556
บันทึกครั้งที่14
นันทึกการเรียนเรียนการสอน
1. คุณครูพูดถึงกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( วงกลม )
- กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
- กิจกรรมศิลปะ
- กิจกรรมเกมการศึกษา
- กิจกรรมเสรี / เล่นตามมุม
- กิจกรรมกลางแจ้ง
2. คุณครูพูดถึงกับการไปดูงานว่าใครไปดูงานเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและจังหวะที่โรงเรียนไหน
ที่จัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะในช่วงบ่าย เพื่อนก็เลยพูดว่ากิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะที่โรงเรียนอนุบาลสามเสนทำกิจกรรมเคลื่อนไหวในช่วงบ่าย คุณครูถามว่ารู้ได้ไง เพื่อนตอบว่าดูที่ตาราง
กิจวัตรประจำวัน
ช่วงเช้า
- เข้าแถว
- เคลื่อนไหว
- ดื่มนม
- ศิลปะ
- เสริมประสบการณ์
- กลางแจ้ง
- รับประทานอาหาร
- นอน
- เกมการศึกษา
ทั้งหมดนี้เป็นอยู่ในหน่วยการเรียนรู้
นันทึกการเรียนเรียนการสอน
1. คุณครูพูดถึงกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ( วงกลม )
- กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
- กิจกรรมศิลปะ
- กิจกรรมเกมการศึกษา
- กิจกรรมเสรี / เล่นตามมุม
- กิจกรรมกลางแจ้ง
2. คุณครูพูดถึงกับการไปดูงานว่าใครไปดูงานเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและจังหวะที่โรงเรียนไหน
ที่จัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะในช่วงบ่าย เพื่อนก็เลยพูดว่ากิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะที่โรงเรียนอนุบาลสามเสนทำกิจกรรมเคลื่อนไหวในช่วงบ่าย คุณครูถามว่ารู้ได้ไง เพื่อนตอบว่าดูที่ตาราง
กิจวัตรประจำวัน
ช่วงเช้า
- เข้าแถว
- เคลื่อนไหว
- ดื่มนม
- ศิลปะ
- เสริมประสบการณ์
- กลางแจ้ง
- รับประทานอาหาร
- นอน
- เกมการศึกษา
ทั้งหมดนี้เป็นอยู่ในหน่วยการเรียนรู้
เทคนิควิธี
- เพลง
- นิทาน (ง่ายๆสำหรับเราคือนิทาน)
ภาพกิจกรรมการเรียนการสอน
3. กลุ่มของดิฉันและกลุ่มของเพื่อนนำเสนอการสอนในแผน (หน่วยเรียนรู้)
กลุ่มที่ 1 กลุ่มของ นก ส้ม ปักเป้า
กลุ่มที่ 2 กลุ่มของ บี ดา แอน
วันที่30 มกราคม 2556
บันทึกครั้งที่13
บันทึกการเรียนการสอน
1. อาจารย์พูดถึงเรื่องบายเนื่ย นักศึกษาปี 2 จัดการแสดง 2 ชุด เก็บเงินคนละ 300 บาท
2. อาจารย์ขอตัวแทนหนึ่งคน ออกไปเขียนสิ่งที่เพื่อนๆแสดงความคิดเห็น
อะไรที่สะท้อนความสามารถของเรา
- บทบาทสมมุติ - นิทรรศการสื่อ - นิทานเวที - เล่นดนตรี
- เล่านิทาน - ร้องเเพลง - เล่นตลก - รำ
- เต้น - งานศิลปะ
ประสบการณ์ ----> การเรียนรู้
ลักษณะสำคัญของประสบการณ์
- การลงมือกระทำ จึงทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
ก่อนที่เด็กจะเรียนรู้จากตัวเลขคือการนับเราก็นับเริ่มตั้งแต่ บทบาทสมมติ ถึง เต้น ได้จำนวน 10 อย่าง จากนั้นนำมาจัดวางไว้แถวละ 5 อยากให้ตรงกันต้องเขียนข้างซ้ายก่อนแล้วค่อยเขียนไปข้างขวา
เด็กจะได้รู้จักจำนวนก็ต้องเขียนตัวเลขลงข้างหน้าหรือข้างหลังของข้อนั้นๆให้ตรงกับเนื้อหาที่เขียน
ลองดูกิจกรรมอะไรที่ไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์
ไม่ใช้สื่อ - เต้น - รำ - เกม - ร้องเพลง
- นิทาน - บทบาทสมมติ
ก่อนที่บอกว่า 6 จะต้องนับก่อน 1-6 จากนั้นก็ใส่เลขกำกับ 6 ข้างหน้า
ใช้สื่อ - นิทานเวที - งานศิลปะ - เล่นดนตรี - นิทรรศการสื่อ
ก่อนที่บอกว่า 4 จะต้องนับก่อน 1-4 จากนั้นก็ใส่เลขกำกับ 4 ข้างหน้า
จากที่มีอยู่ 10 อย่าง วงกลมออกไป 6 อย่าง เหลือ 4 อย่าง หรือ วงกลมออกไป 4 อย่าง เหลือ 6 อย่าง จะเป็นฐานของการลบ
เหตุผลการ ร้องเพลง นิทาน เต้น
- ทั้ง 3 อย่างสามารถบูรณนาการรวมกันได้
- เป็นสิ่งที่เด็กได้ทำและชอบเพราะมันมีอยู่ในตัวของเด็ก
- มีโอกาสที่เด็กได้ใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- เป็นสิ่งที่ใช้สื่อหรือไม่ใช้สื่อก็ได้
บันทึกการเรียนการสอน
1. อาจารย์พูดถึงเรื่องบายเนื่ย นักศึกษาปี 2 จัดการแสดง 2 ชุด เก็บเงินคนละ 300 บาท
2. อาจารย์ขอตัวแทนหนึ่งคน ออกไปเขียนสิ่งที่เพื่อนๆแสดงความคิดเห็น
อะไรที่สะท้อนความสามารถของเรา
- บทบาทสมมุติ - นิทรรศการสื่อ - นิทานเวที - เล่นดนตรี
- เล่านิทาน - ร้องเเพลง - เล่นตลก - รำ
- เต้น - งานศิลปะ
ประสบการณ์ ----> การเรียนรู้
ลักษณะสำคัญของประสบการณ์
- การลงมือกระทำ จึงทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
ก่อนที่เด็กจะเรียนรู้จากตัวเลขคือการนับเราก็นับเริ่มตั้งแต่ บทบาทสมมติ ถึง เต้น ได้จำนวน 10 อย่าง จากนั้นนำมาจัดวางไว้แถวละ 5 อยากให้ตรงกันต้องเขียนข้างซ้ายก่อนแล้วค่อยเขียนไปข้างขวา
เด็กจะได้รู้จักจำนวนก็ต้องเขียนตัวเลขลงข้างหน้าหรือข้างหลังของข้อนั้นๆให้ตรงกับเนื้อหาที่เขียน
ลองดูกิจกรรมอะไรที่ไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์
ไม่ใช้สื่อ - เต้น - รำ - เกม - ร้องเพลง
- นิทาน - บทบาทสมมติ
ก่อนที่บอกว่า 6 จะต้องนับก่อน 1-6 จากนั้นก็ใส่เลขกำกับ 6 ข้างหน้า
ใช้สื่อ - นิทานเวที - งานศิลปะ - เล่นดนตรี - นิทรรศการสื่อ
ก่อนที่บอกว่า 4 จะต้องนับก่อน 1-4 จากนั้นก็ใส่เลขกำกับ 4 ข้างหน้า
จากที่มีอยู่ 10 อย่าง วงกลมออกไป 6 อย่าง เหลือ 4 อย่าง หรือ วงกลมออกไป 4 อย่าง เหลือ 6 อย่าง จะเป็นฐานของการลบ
เหตุผลการ ร้องเพลง นิทาน เต้น
- ทั้ง 3 อย่างสามารถบูรณนาการรวมกันได้
- เป็นสิ่งที่เด็กได้ทำและชอบเพราะมันมีอยู่ในตัวของเด็ก
- มีโอกาสที่เด็กได้ใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- เป็นสิ่งที่ใช้สื่อหรือไม่ใช้สื่อก็ได้
วันที่23 มกราคม 2556
บันทึกครั้งที่12
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับ"หน่วยการเรียนรู้"
- หน่วยการเรียนรู้ที่นำมาจะต้องแตกออกเป็น Mind mapping จะต้องมีเนื้อหาสาระ
- การที่เด็กได้ลงมือกระทำ คือประสบการณ์การเรียนรู้
- ให้แบ่งกันในกลุ่มว่าใครจะอยู่วันไหนอย่างไรให้ชัดเจนแล้วเขียนแผนออกมาใส่กระดาษ A4
- การที่เด็กได้ทำกิจกรรมโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 และได้ลงมือกระทำ คือการเล่น
สื่อและเทคนิค
- แผ่นภาพ
- เพลง
- นิทาน
นิทานแฝงข้อคิด
หลักภาษาและการใช้ ภาษาคำศัพท์ในบทร้อยกรองความหมายของคำ สำนวนโวหาร
สำนวนเปรียบเทียบ คำซ้ำ คำซ้อน คำประสม
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับ"หน่วยการเรียนรู้"
- หน่วยการเรียนรู้ที่นำมาจะต้องแตกออกเป็น Mind mapping จะต้องมีเนื้อหาสาระ
- การที่เด็กได้ลงมือกระทำ คือประสบการณ์การเรียนรู้
- ให้แบ่งกันในกลุ่มว่าใครจะอยู่วันไหนอย่างไรให้ชัดเจนแล้วเขียนแผนออกมาใส่กระดาษ A4
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ครอบครัวของฉัน
|
||
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้
|
กิจกรรม
|
- การที่เด็กได้ทำกิจกรรมโดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 และได้ลงมือกระทำ คือการเล่น
สื่อและเทคนิค
- แผ่นภาพ
- เพลง
- นิทาน
นิทานแฝงข้อคิด
หลักภาษาและการใช้ ภาษาคำศัพท์ในบทร้อยกรองความหมายของคำ สำนวนโวหาร
สำนวนเปรียบเทียบ คำซ้ำ คำซ้อน คำประสม
การฟัง การพูด และการดู ระบุคุณค่าของนิทานพื้นบ้าน วรรณกรรมของท้องถิ่น
การนำข้อคิดจากนิทานไปใช้ในชีวิตประจำวัน การสร้างนิสัยรักการอ่าน และอนุรักษ์ภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม
มารยาทในการฟัง การพูด และการดู การพูดรายงาน แสดงความคิดเห็น การเล่านิทานพื้นบ้านของท้องถิ่น
การเขียน คัดลายมือตอนที่ประทับใจ เขียนบันทึกความรู้/ประจำวัน เขียนนิทานตามจินตนาการ เขียนย่อเรื่องตามรูปแบบ
การอ่าน อ่านในใจและอ่านออกเสียง นิทานเรื่อง แม่นากพระโขนงที่สอง นิทาน เรื่อง เศรษฐีเฒ่าเจ้าปัญญา นิทานอีสปที่มีคุณค่า นิทานพื้นบ้าน
วันที่16 มกราคม 2556
บันทึกครั้งที่ 11
กิจกรรมการเรียนการสอน
<< เพลงแม่พิมพ์ของชาติ
<< นักร้อง ฝน ธนสุนทร
แสงเรืองๆ ที่ส่องประเทืองอยู่ทั่วเมืองไทย
คือแม่พิมพ์อันน้อยใหญ่ โอ้..ครูไทยในแดนแหลมทอง
เหนื่อยยากอย่างไร ไม่เคยบ่นไป ให้ใครเขามอง
ครูนั้นยังลำพอง ในเกียรติของตนเสมอมา
ที่ทำงาน ช่างสุดกันดาร ในป่าดงไพร
ถึงจะไกล ก็เหมือนใกล้ เร่งรุดไป ให้ทันเวลา
กลับบ้านไม่ทัน บางวันต้องไปอาศัยหลวงตา
ครอบครัวคอยท่า ไม่รู้ว่าไปอยู่ไหน
ถึงโรงเรียน ก็เจียนจะสายจวนได้เวลา
เห็นศิษย์รออยู่พร้อมหน้า ต้องรีบมาทำการสอน
ไม่มีเวลาที่จะได้มา หยุดพอพักผ่อน
โรงเรียนในดงป่าดอน ให้โหยอ่อนสะท้อนอุรา
ชื่อของครู ฟังดู ก็รู้ชวนชื่นใจ
งานที่ทำก็ยิ่งใหญ่ สร้างชาติไทยให้วัฒนา
ฐานะของครู ใครๆก็รู้ว่าด้อยหนักหนา
ยังสู้ทนอุตส่าห์ สั่งสอนศิษย์มาเป็นหลายปี
นี่แหละครู ที่ให้ความรู้อยู่รอบเมืองไทย
หวังสิ่งเดียวคือขอให้ เด็กของไทยในผืนธานี
ได้มีความรู้ เพื่อช่วยเชิดชูไทยให้ผ่องศรี
ครูก็ภูมิใจที่ สมความเหนื่อยยากตรากตรำมา...
>> เพลง ครูในดวงใจ
>> นักร้อง อรวี สัจจานนท์
เนื้อเพลง ครูในดวงใจ
ปา เจ รา จริยา โหนติ
คุนุตรา นุสา สกา
ปากกาหัวใจ เขียนชื่อครูไว้บูชา
จารึกพระคุณสูงค่า ผู้นำวิชามาให้
เป็นศิษย์มีครู จึงยืนสู้อย่างผู้มีชัย
คุณครูชี้นำทางใจ จึงทำให้ศิษย์มีวันนี้
ภาพครูแสนดี ยังติดตรึงที่ดวงใจ
เป็นคนผู้มีแต่ให้ มีใจสู้งานเต็มที่
รักศิษย์ทุกคน ไม่เคยบ่นจนหรือมั่งมี
จับชอล์คเขียนคุณความดี จับมือชี้คุณธรรม
ครูทำงานหนัก แต่ก็รักศักดิ์ศรี
พอใจสิ่งที่ตนมี เป็นพิมพ์ดีให้ลูกศิษย์จำ
ทุกเส้นทางสู้ ศิษย์ยึดครูนั้นเป็นผู้นำ
คำสอนทุกอย่างจดจำ ทุกการกระทำเรียนรู้
ปากกาหัวใจ เขียนชื่อครูไว้บูชา
บันทึกความดีสูงค่า นำมาเป็นแนวทางสู้
สังคมวุ่นวาย ขอส่งใจมายืนข้างครู
ครูยัง สังคมจึงอยู่ ศิษย์เชิดชู ครูในดวงใจ
ขุนลำดวน ปากกาหัวใจ
เขียนชื่อครูไว้บูชา บันทึกความดีสูงค่า
นำมาเป็นแนวทางสู้ สังคมวุ่นวาย
ขอส่งใจมายืนข้างครู ครูยัง สังคมจึงอยู่
ศิษย์เชิดชู ครูในดวงใจ
วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2556
วันที่ 9 มกราคม 2556
บันทึกครั้งที่10
กิจกรรมการเรียนการสอน
- อาจารย์สอนเกี่ยวกับศาสตร์ที่นำไปประยุกต์ใช้กับเด็ก
- การจัดประสบการณ์ จะต้องคำนึงถึงอายุของเด็กที่จะบูรณาการณ์คณิตศาสตร์กับเด็ก
- การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ต้องให้เด็กเห็นจำนานที่กระจายก่อนหรือเครื่องหมายสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ก่อนนำตัวเลขมาแทนค่า เพราเด็กจะเห็นเป็นตัวเลขเลยแต่ไม่ไม่รู้ว่ามันมีเท่าไรยังไงเอามาไดอย่างไร
- การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์
- ฐานของการจัดประสบการณ์ เอามาจาก อาจารย์เยาวพา และอาจารย์นิตยา
มาตรฐานที่1
ฐานจำนวน เช่น จำนวนนักเรียนที่มาเรียน,จำนวนของอาคารโรงเรียน,เหรียญที่อยู่ในกระเป๋าของเด็กๆมีเท่าไร,บุคคลในบ้านของเด็กๆมีกี่คน เป็นต้น
ฐานตัวเลข เช่น แทนค่าด้วยตัวเลขโดยหยิบตัวเลขมาวางหรือเขียนตัวเลข
มาตรฐานที่2
ฐานการวัดค่า ค่าปริมาตร โดยใช้เครื่องมือในการวัด เช่น ส่วนสูง+น้ำหนัก
มาตรฐานที่3
รูปทรงและเนื้อที่
มาตรฐานที่4
พืชคณิต ความสัมพันธ์-การจับคู่-เป็นมาตรฐานขี้นเริ่มต้น ความสัมพันธ์ที่สูงขึ้นมาอีก คือ ความสัมพันธ์ 2 แกน
มาตรฐานที่5 -
มาตรฐานที่6
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ภาพการเรียนการสอน
* หมายเหตุ อาจารย์สั่งงานให้จับกลุ่มกลุ่มละไม่เกิน 5 คน ให้สร้าง "หน่วย" เรียกมา 1 หน่วย 1 เรื่อง
แล้ววิเคราะห์เนื้อหาของหน่วยเรื่องนั้นๆ ทำเป็น Mind mapping ทำใส่กระดาษ F3
วันที่ 2 มกราคม 2556
บันทึกครั้งที่9
กิจกรรมการเรียนการสอน
* นักศึกษามาทั้งหมด 7 คน
- อาจารย์ให้ส่งงานที่สั่งไป และเขียนชื่อนักศึกษาที่เข้าเรียนวันนี้
- อาจารย์ให้คำแนะนำชิ้นงานที่ทำมาว่า"เราควรใส่ใจลายละเอียดเล็กๆ
น้อยๆของชิ้นงานที่เราทำ"
- กลุ่มของดิฉันนำมาส่งแต่ไม่ได้ส่งนำกลับไปปรับปรุงแก้ไขให้
มีคุณภาพมากขึ้น
กิจกรรมการเรียนการสอน
* นักศึกษามาทั้งหมด 7 คน
- อาจารย์ให้ส่งงานที่สั่งไป และเขียนชื่อนักศึกษาที่เข้าเรียนวันนี้
- อาจารย์ให้คำแนะนำชิ้นงานที่ทำมาว่า"เราควรใส่ใจลายละเอียดเล็กๆ
น้อยๆของชิ้นงานที่เราทำ"
- กลุ่มของดิฉันนำมาส่งแต่ไม่ได้ส่งนำกลับไปปรับปรุงแก้ไขให้
มีคุณภาพมากขึ้น
วันที่ 26 ธันวาคม 2555
บันทึกครั้งที่8
กิจกรรมการเรียนการสอน
ไม่มีการเรียนการสอน
* หมายเหตุ เป็นวันสอบกลางภาค
วันที่ 19 ธันวาคม 2555
บันทึกครั้งที่7
กิจกรรมการเรียนการสอน
1.ส่งงานที่ทำคือ วงกลม 9 วง สีและขนาดที่ไม่เหมือนกัน
วันนี้เรียน ดังนี้
มาตรฐานนึกถึงอะไรในการชี้วัด
- เกณฑ์ในการวัด - การวัดผล
- เกณฑ์การประเมิน - การประเมิน
- คุณภาพ - การเป็นที่ยอมรับ
อะไรที่ทำให้เป็นมาตรฐาน
- สถานศึกษา
- การสอบ
- สินค้าผลิตภัณฑ์ว่ามีมาตรฐานหรือไม่มีมาตรฐาน
คณิตศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ในการแก้ปัญหางในชีวิตประจำวัน
กรอบจะนึกถึงอะไร
- ขอบเขต
- ข้อจำกัด
- กฎเกณฑ์
ครูถาม คิดคล่องแคล่ว จับเวลาว่ากรอบมีอะไรบ้างในชีวิตประจำวัน
กรอบของมาตรฐานของแต่ละคน
- กรอบของการศึกษา
- กรอบของครู
- กรอบของนักเรียน/นักศึกษา
- กรอบโกรย
- กรอบรูป เป็นต้น
การขาดความเชื่อมั่นของเด็ก
- คุณครูทั้งหลายสมาธิสั้น
- ครูไม่รู้จักรอคอย ไม่ให้เวลาเด็ก
กรอบเป็นแนวทางดำเนินการของด้านคณิต
- จำนวน-ตัวเลข-ปริมาณ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)